มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก วิทยานิพนธ์/วิจัยเกี่ยวกับสถานีฯ แบบสอบถามวิเคาราะห์ความพึงพอใจที่ได้ฟังวิทยุหลวงตา ผลการศึกษาแบบสอบถามความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน

ผลการศึกษาแบบสอบถามความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน

อีเมล พิมพ์ PDF

 

ผลการศึกษา

 

“ความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน”
 
          การศึกษานี้ได้จัดทำขึ้นตามความต้องการของกทช. เพื่อศึกษา ความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนการเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบสอบถามที่ได้รับจาก กทช. จำนวน ๑ หน้า ดังเอกสารแนบที่ ๑ จากนั้นมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนได้ประสานงานเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล การได้มาซึ่งข้อมูลเป็นการเลือกอย่างเจาะจงจากผู้ที่รับฟังสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน โดยการสัมภาษณ์หรือการกรอกข้อมูลเองตามความสะดวกของผู้ให้ข้อมูล จากสถานีเครือข่ายทั่วประเทศจำนวน ๑๑๒ สถานี ผลการศึกษาได้จัดทำใน ๔ ประเภทจำแนกตามพื้นที่และตามประเด็นคือ การวิเคราะห์ในภาพรวมทั้งประเทศ วิเคราะห์รายภูมิภาค รายจังหวัด และรายสถานี สำหรับผลการวิเคราะห์รายภูมิภาค รายจังหวัด และรายสถานี ดังเอกสารแนบที่ ๒ ผลการศึกษาแสดงได้ดังนี้
 
การวิเคราะห์ในภาพรวมทั้งประเทศ
จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น จำนวน ๑,๑๒๓ ราย เป็นเพศชาย และเพศหญิงร้อยละ 29.4, 70.6 ตามลำดับ (ตารางที่ ๑) สำหรับข้อมูลสถานภาพทั่วไปตามกลุ่มอายุ ระดับการศึกษา แสดงได้ดังตารางที่ ๒, ๓, ๔, ภาพที่ ๑ และ ๒
 
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลสถานภาพทั่วไป
          ตารางที่ ๑ข้อมูลสถานภาพทั่วไปจำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน
ร้อยละ
 - ชาย
330
29.4
 - หญิง
793
70.6
รวม
1,123
100.0
 
ตารางที่ ๒ข้อมูลสถานภาพทั่วไปจำแนกตามช่วงอายุ
ช่วงอายุ
จำนวน
ร้อยละ
 - ต่ำกว่า ๒๐ ปี
139
12.4
 - ๒๑-๔๐ ปี
366
32.6
 - ๔๑-๖๐ ปี
478
42.6
 - ๖๐ ปีขึ้นไป
140
12.5
รวม
1,123
100.0
 
ตารางที่ ๓ข้อมูลสถานภาพทั่วไปจำแนกตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา
จำนวน
ร้อยละ
 - ป.๔ / ป.๖
250
22.3
 - ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
258
23.0
 - อนุปริญญา / ปวส. หรือเทียบเท่า
129
11.5
 - ปริญญาตรี
379
33.7
 - สูงกว่าปริญญาตรี
107
9.5
รวม
1,123
100.0
 
ตารางที่ ๔ข้อมูลสถานภาพทั่วไปจำแนกตามระดับการศึกษาและช่วงอายุ
ระดับการศึกษา \ ช่วงอายุ
ต่ำกว่า ๒๑ ปี
๒๑-๔๐
ปี
๔๑-๖๐ปี
๖๐ปีขึ้นไป
จำนวน
ร้อยละ
 - ป.๔ / ป.๖
43
33
107
67
250
22.3
 - ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
83
63
81
31
258
23.0
 - อนุปริญญา / ปวส.หรือเทียบเท่า
13
57
49
10
129
11.5
 - ปริญญาตรี
 0
187
165
27
379
33.7
 - สูงกว่าปริญญาตรี
 0
26
76
5
107
9.5
จำนวน
146
360
477
140
1123
100.0
ร้อยละ
13.0
32.1
42.5
12.5
100.0
 
 
 
ภาพที่ ๑ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละกลุ่มอายุ โดยจำแนกตามระดับการศึกษา
 
 
ภาพที่ ๒   จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละกลุ่มอายุ (ตามการจำแนกของ กทช.) และตามระดับการศึกษา
 
ส่วนที่ ๒ ประโยชน์ที่จะได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ
 
          ในส่วนนี้ได้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพศ กลุ่มอายุ ระดับการศึกษากับประเด็นประโยชน์ที่จะได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ ใน ๗ ประเด็น แสดงผลการศึกษาดังนี้
 
          ระดับความคิดเห็นของผู้ที่รับฟังสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ ในภาพรวมแสดงได้ดังตารางที่ ๕ กล่าวคือประชาชนมีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดในทุกประเด็นที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน, สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัยสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพ, เป็นสภานีที่เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์, มี เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด, และเป็นสถานีที่สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษด้วยร้อยละ 88, 88, 83, 82, 92, 85 และ 85 ตามลำดับซึ่งระดับความคิดเห็นในทุกประเด็นคำถามนี้บ่งบอกได้ชัดเจนว่าประชาชนที่รับฟังรายการจากสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดในการรับฟัง ทั้งนี้การแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระแบบปลายเปิดเป็นส่วนที่สำคัญที่จะบ่งบอกความต้องการและความพึงพอใจของผู้ฟังซึ่งผลการวิเคราะห์จะนำเสนอในส่วนที่ ๓
 


 
ตารางที่ ๕ จำนวนและร้อยละของผู้ที่รับฟังสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ จำแนกตามระดับความคิดเห็น
ประโยชน์ที่จะได้รับ   \ ระดับความคิดเห็น
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
รวม
๑. เผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์
      กับประชาชนในชุมชน
983 (87.5)
117 (10.4)
20 (1.8)
3 (0.3)
-
1123 (100)
๒. สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย
986 (87.8)
118 (10.5)
17 (1.5)
2 (0.2)
-
1123 (100)
๓. สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
933 (83.1)
142 (12.6)
44 (3.9)
3 (0.3)
1 (0.1)
1123 (100)
. นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพ
917 (81.7)
155 (13.8)
49 (4.4)
2 (0.2)
-
1123 (100)
เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
1,035 (92.2)
78 (6.9)
10 (0.9)
-
-
1123 (100)
๖.      เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด
956 (85.1)
143 (12.7)
21 (1.9)
1 (0.1)
1 (0.1)
1122 (99.9)
๗.     สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ
951 (84.7)
129 (11.5)
39 (3.5)
2 (0.2)
1 (0.1)
1122 (99.9)
ค่า Sig. of c2= 0.00** (มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงค่าร้อยละ
 
 


๒.๑ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับประโยชน์ที่จะได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน ผลการทดสอบใน ๗ประเด็นดังแสดงในตารางที่ ๖ พบว่า
 
๑. การเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน พบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 86 และ 88) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้งเพศชายและหญิงปรากฎว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 คือตัวแปรเพศมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๒. สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัยพบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 85 และ 89) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย และตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๓. สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 82 และ 84) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพพบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80 และ 83) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการนำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพและตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์พบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 92 และ 92) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๖. เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุดพบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 82 และ 86) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่มีเนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด และตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๗. สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษพบว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83 และ 86) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ และตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
ตารางที่ ๖ การทดสอบเพศกับประโยชน์ที่จะได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ชาย (330)
หญิง (793)
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๑.      เผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนในชุมชน
330
100.0
793
100.0
 
0.043*
มากที่สุด
284
86.1
699
88.1
มาก
42
12.7
75
9.5
ปานกลาง
2
0.6
18
2.3
น้อย
2
0.6
1
0.1
น้อยที่สุด
-
-
-
-
๒.     สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย
330
100.0
793
100.0
0.209
มากที่สุด
281
85.2
705
88.9
มาก
42
12.7
76
9.6
ปานกลาง
7
2.1
10
1.3
น้อย
0
0.0
2
0.3
น้อยที่สุด
-
-
-
-
๓.     สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
330
100.0
793
100.0
 
0.103
มากที่สุด
269
81.5
664
83.7
มาก
40
12.1
102
12.9
ปานกลาง
19
5.8
25
3.2
น้อย
2
0.6
1
0.1
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.1
๔.     นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพ
330
100.0
793
100.0
0.645
มากที่สุด
263
79.7
654
82.5
มาก
49
14.8
106
13.4
ปานกลาง
17
5.2
32
4.0
น้อย
1
0.3
1
0.1
น้อยที่สุด
-
-
-
-
 
 
ตารางที่ ๖ (ต่อ) การทดสอบเพศกับประโยชน์ที่จะได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ชาย (330)
หญิง (793)
ค่า Sig. of c2
๕.     เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
330
100.0
793
100.0
0.837
มากที่สุด
305
92.4
730
92.1
มาก
23
7.0
55
6.9
ปานกลาง
2
0.6
8
1.0
น้อย
-
-
-
-
น้อยที่สุด
-
-
-
-
๖.      เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด
330
100.0
792
100.0
 
0.392
มากที่สุด
272
82.4
684
86.4
มาก
51
15.5
92
11.6
ปานกลาง
7
2.1
14
1.8
น้อย
0
0.0
1
0.1
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.1
๗.     สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ
330
100.0
792
100.0
0.392
มากที่สุด
274
83.0
677
85.5
มาก
46
13.9
83
10.5
ปานกลาง
10
3.0
29
3.7
น้อย
0
0.0
2
0.3
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.1
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
 

๒.๒ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอายุกับประโยชน์ที่จะได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน ผลการทดสอบใน ๗ประเด็นดังแสดงในตารางที่พบว่า
 
๑. การเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน พบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ76, 78, 89 และ92) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๔ กลุ่มอายุมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 คือตัวแปรอายุมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๒. สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัยพบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ 80, 77, 89 และ91) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย และตัวแปรอายุไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๓. สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ 86, 81, 82 และ90) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและตัวแปรอายุไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพพบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ 81, 79, 82 และ87) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการนำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพและตัวแปรอายุไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์พบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ94, 89, 93 และ97) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๔ กลุ่มอายุมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 คือตัวแปรอายุมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๖. เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุดพบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ78, 84, 87 และ92) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่มีเนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๔ กลุ่มอายุมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 คือตัวแปรอายุมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๗. สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษพบว่า ทั้งกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๑ ปี, กลุ่มอายุ ๒๑-๔๐ ปี, กลุ่มอายุ ๔๑-๖๐ ปี, และกลุ่มอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป (ร้อยละ91, 82, 84 และ90) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ และตัวแปรอายุไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 


ตารางที่ ๗ การทดสอบช่วงอายุกับประโยชน์ที่จะได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ต่ำกว่า ๒๑ ปี
๒๑ – ๔๐ ปี
๔๑-๖๐ ปี
มากกว่า ๖๐ ปี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๑.      เผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนในชุมชน
139
100.0
417
100.0
478
100.0
140
100.0
0.00**
มากที่สุด
106
76.3
323
77.5
425
88.9
129
92.1
มาก
30
21.6
75
18.0
38
7.9
10
7.1
ปานกลาง
2
1.4
18
4.3
13
2.7
1
0.7
น้อย
1
0.7
1
0.2
2
0.4
0
0.0
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
๒.     สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย
139
100.0
415
100.0
478
100.0
140
100.0
0.094
มากที่สุด
111
79.9
321
77.3
426
89.1
128
91.4
มาก
23
16.5
75
18.1
43
9.0
12
8.6
ปานกลาง
4
2.9
18
4.3
8
1.7
0
0.0
น้อย
1
0.7
1
0.2
1
0.2
0
0.0
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
๓.     สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
139
100.0
366
100.0
478
100.0
140
100.0
0.056
มากที่สุด
119
85.6
297
81.1
391
81.8
126
90.0
มาก
10
7.2
52
14.2
68
14.2
12
8.6
ปานกลาง
10
7.2
16
4.4
16
3.3
2
1.4
น้อย
0
0.0
0
0.0
3
0.6
0
0.0
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.3
0
0.0
0
0.0

ตารางที่ ๗ (ต่อ) การทดสอบช่วงอายุกับประโยชน์ที่จะได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ต่ำกว่า ๒๑ ปี
๒๑ – ๔๐ ปี
๔๑-๖๐ ปี
มากกว่า ๖๐ ปี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๔.     นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพ
139
100
366
100
477
100.0
140
100.0
0.443
มากที่สุด
113
81.3
290
79.2
392
82.2
122
87.1
มาก
20
14.4
55
15.0
64
13.4
16
11.4
ปานกลาง
6
4.3
21
5.7
20
4.2
2
1.4
น้อย
0
0.0
0
0.0
1
0.2
0
0.0
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
๕.     เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
139
100.0
366
100.0
478
100.0
140
100.0
0.041*
มากที่สุด
131
94.2
325
88.8
443
92.7
136
97.1
มาก
8
5.8
35
9.6
31
6.5
4
2.9
ปานกลาง
0
0.0
6
1.6
4
0.8
0
0.0
น้อย
-
-
-
-
-
-
-
-
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
๖.      เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด
139
100.0
366
100.0
476
100.0
141
100.0
0.027*
มากที่สุด
108
77.7
307
83.9
412
86.6
129
91.5
มาก
28
20.1
52
14.2
55
11.6
8
5.7
ปานกลาง
2
1.4
7
1.9
9
1.9
3
2.1
น้อย
1
0.7
0
0.0
0
0.0
0
0.0
น้อยที่สุด
0
0.0
0
0.0
0
0.0
1
0.7
ตารางที่ ๗ (ต่อ) การทดสอบช่วงอายุกับประโยชน์ที่จะได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ต่ำกว่า ๒๑ ปี
๒๑ – ๔๐ ปี
๔๑-๖๐ ปี
มากกว่า ๖๐ ปี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๗.     สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ
139
100.0
366
100.0
478
100.0
139
100.0
0.323
มากที่สุด
126
90.6
300
82.0
400
83.7
125
89.9
มาก
11
7.9
49
13.4
58
12.1
11
7.9
ปานกลาง
2
1.4
17
4.6
17
3.6
3
2.2
น้อย
0
0.0
0
0.0
2
0.4
0
0.0
น้อยที่สุด
0
0.0
0
0.0
1
0.2
0
0.0
 
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


๒.๓ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษากับประโยชน์ที่จะได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน ผลการทดสอบใน ๗ประเด็นดังแสดงในตารางที่ ๘ พบว่า
 
๑. การเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน พบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ91, 70, 92, 87 และ86) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๕กลุ่มระดับการศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๒. สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัยพบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ90, 71, 91, 84 และ91) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย และตัวแปรกลุ่มระดับการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๓. สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ88, 85, 90, 77 และ79) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและตัวแปรกลุ่มระดับการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพพบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 89, 82, 88, 76 และ 77) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการนำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพและตัวแปรกลุ่มระดับการศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 กล่าวคือตัวแปรกลุ่มระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์พบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ94, 92, 97, 90 และ91) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีในการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และตัวแปรกลุ่มระดับการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๖. เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุดพบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ93, 82, 89, 81 และ84) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่มีเนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 คือ กลุ่มระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้
 
๗. สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษพบว่า ทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษาคือ ป.๔ / ป.๖, ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า, อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า, ปริญญาตรี และกลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ93, 86, 91, 77 และ81) มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดที่ว่าสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ เป็นสถานีที่สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ และเมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของทั้ง ๕ กลุ่มระดับการศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 คือ กลุ่มระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นในประเด็นนี้


ตารางที่ ๘ การทดสอบระดับการศึกษากับความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ป.๔ / ป.๖
ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๑.      เผยแพร่พระพุทธศาสนา การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนในชุมชน
250
100.0
308
100.0
129
100.0
379
100.0
107
100.0
0.057
มากที่สุด
228
91.2
214
69.5
118
91.5
331
87.3
92
86.0
มาก
13
5.2
75
24.4
11
8.5
42
11.1
11
10.3
ปานกลาง
8
3.2
18
5.8
0
0.0
5
1.3
4
3.7
น้อย
1
0.4
1
0.3
0
0.0
1
0.3
0
0.0
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
๒.     สร้างเสริมคุณธรรมแก่ทุกเพศ ทุกวัย
250
100.0
321
100.0
129
100.0
379
100.0
107
100.0
0.446
มากที่สุด
226
90.4
227
70.7
117
90.7
319
84.2
97
90.7
มาก
20
8.0
75
23.4
12
9.3
52
13.7
9
8.4
ปานกลาง
3
1.2
18
5.6
0
0.0
8
2.1
1
0.9
น้อย
1
0.4
1
0.3
0
0.0
0
0.0
0
0.0
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 

ตารางที่ ๘ (ต่อ) การทดสอบระดับการศึกษากับความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ป.๔ / ป.๖
ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๓.     สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
250
100.0
258
100.0
129
100.0
379
100.0
107
100.0
0.072
มากที่สุด
221
88.4
218
84.5
116
89.9
293
77.3
85
79.4
มาก
21
8.4
28
10.9
12
9.3
64
16.9
17
15.9
ปานกลาง
7
2.8
11
4.3
1
0.8
21
5.5
4
3.7
น้อย
0
0.0
1
0.4
0
0.0
1
0.3
1
0.9
น้อยที่สุด
1
0.4
0
0.0
0
0.0
0
0.0
0
0.0
๔.     นำหลักธรรมาภิบาล มาสร้างอาชีพ
250
100
258
100
129
100.0
379
100.0
107
100.0
0.01**
มากที่สุด
223
89.2
211
81.8
113
87.6
288
76.0
82
76.6
มาก
20
8.0
35
13.6
14
10.9
67
17.7
19
17.8
ปานกลาง
7
2.8
11
4.3
2
1.6
24
6.3
5
4.7
น้อย
0
0.0
1
0.4
0
0.0
0
0.0
1
0.9
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 

ตารางที่ ๘ (ต่อ) การทดสอบระดับการศึกษากับความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ป.๔ / ป.๖
ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๕.     เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
250
100.0
258
100.0
129
100.0
379
100.0
107
100.0
0.47
มากที่สุด
235
94.0
238
92.2
125
96.9
340
89.7
97
90.7
มาก
14
5.6
17
6.6
4
3.1
34
9.0
9
8.4
ปานกลาง
1
0.4
3
1.2
0
0.0
5
1.3
1
0.9
น้อย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
น้อยที่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
๖.      เนื้อหาของผังรายการประชาชนในชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด
250
100.0
258
100.0
129
100.0
379
100.0
106
100.0
0.038*
มากที่สุด
233
93.2
212
82.2
115
89.1
307
81.0
89
84.0
มาก
12
4.8
38
14.7
12
9.3
66
17.4
15
14.2
ปานกลาง
4
1.6
7
2.7
2
1.6
6
1.6
2
1.9
น้อย
1
0.4
0
0.0
0
0.0
0
0.0
0
0.0
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.4
0
0.0
0
0.0
0
0.0
 

ตารางที่ ๘ (ต่อ) การทดสอบระดับการศึกษากับความพึงพอใจที่ได้รับจาก สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ
ป.๔ / ป.๖
ม.๖ ปวช. หรือเทียบเท่า
อนุปริญญา ปวส. หรือเทียบเท่า
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
ค่า Sig. of c2
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
๗.     สร้างชุมชนสีขาวปราศจากสิ่งเสพติดให้โทษ
250
100.0
258
100.0
129
100.0
378
100.0
107
100.0
0.001**
มากที่สุด
233
93.2
223
86.4
117
90.7
291
77.0
87
81.3
มาก
11
4.4
23
8.9
11
8.5
69
18.3
15
14.0
ปานกลาง
5
2.0
10
3.9
1
0.8
18
4.8
5
4.7
น้อย
1
0.4
1
0.4
0
0.0
0
0.0
0
0.0
น้อยที่สุด
0
0.0
1
0.4
0
0.0
0
0.0
0
0.0
 
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


ส่วนที่ ๓ ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
          จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น จำนวน ๑,๑๒๓ ราย พบว่ามีผู้ให้ความคิดเห็นส่วนนี้เป็นจำนวนมากถึง ๔๙๙ รายคิดเป็นร้อยละ ๔๔.๔ โดยในจำนวนนี้จำแนกและจัดหมวดหมู่ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ได้ดังตารางที่ ๙กล่าวคือ
๑. สิ่งที่กทช.มีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมแก้ไขปัญหา สูงถึงร้อยละ 36.7 คือในเรื่องคลื่นรบกวน คลื่นแทรก ทำให้รับฟังไม่ค่อยได้ อยากให้ปรับปรุง หรือการเพิ่มกำลังส่งให้ชัดเจนยิ่งขึ้นซึ่งพบว่ามีสูงถึงร้อยละ 18 โดยขอให้ผู้มีอำนาจ หรือคณะรัฐบาลช่วยพิจารณาส่งเสริมสนับสนุนให้วิทยุเสียงธรรมฯได้อยู่คู่กับประชาชนต่อไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 8 และต้องการให้กระจาย ขยายไปอย่างกว้างขวางครอบคลุมในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัด ทั่วประเทศ เข้าถึงประชาชนทุกเพศ ทุกวัยให้มากที่สุดอีกสูงถึงร้อยละ 10.7
 
๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถานีในฐานะผู้ส่ง เนื้อหาที่ส่ง ประโยชน์ต่อผู้รับ ความคิดเห็นอื่น ๆ ซึ่งไม่ได้ก่อปัญหาใด ๆ เลย เป็นผลในแง่บวก แง่ดีทั้งสิ้น โดยคิดเป็นร้อยละ 63.3 คือ
- ผู้รับเห็นว่า มีประโยชน์ต่อตนเองมากที่สุด มีประโยชน์ต่อส่วนรวมและสังคม สูงถึงร้อยละ 20.7 ซึ่งมีผลต่อจิตใจ เป็นที่พึ่งทางใจ ขัดเกลาจิตใจ ใจมีความสุข ทำให้ใจมีสติ มีความสงบ เมื่อตนเองดี ทำให้สังคมดี และประเทศชาติเข้มแข็ง สังคมอยู่กันอย่างสงบ สันติสุข รวมถึงมุ่งไปที่เยาวชนให้ได้รับฟังกันมากขึ้น เพราะมีประโยชน์มาก ร้อยละ 3.5
- ผู้รับ เห็นว่า สถานีวิทยุเสียงธรรมฯ ดีมากที่สุดแล้ว มีความพึงพอใจมาก ชอบฟังมาก ฟังตลอดเวลา ฟังทุกวัน เป็นประจำ ร้อยละ 16
- ผู้รับ เห็นว่า เนื้อหาของรายการได้รับฟังพระธรรมเทศนาจากภาคปฏิบัติจิตตภาวนา เสมือนมีครูบาอาจารย์มาเทศน์สอนที่บ้าน ร้อยละ 6.3
- ผู้รับ เห็นว่าจากประโยชน์ และมีความพึงพอใจที่ได้รับจากสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ จึงต้องการให้มีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนตลอดไปเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา เป็นสถานีในการธำรง เชิดชู ชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ให้อยู่คู่ประชาชนไทยตลอดไปอีกร้อยละ 13.6
- การส่ง มีเพียงร้อยละ 1.4 ที่เห็นว่ารับได้ชัดเจนดีอยู่แล้ว
- ความคิดเห็นอื่น ๆเพียงร้อยละ 1.8 ที่แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในเนื้อหารายการ
 


ตารางที่ ๙ จำนวนและร้อยละความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ตอบแบบสอบถาม

ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
จำนวน
ร้อยละ
๑. ขอให้มีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนตลอดไปเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา เป็นสถานีในการธำรงเชิดชู ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ให้อยู่คู่ประชาชนไทยตลอดไป
90
13.6
๒. มีประโยชน์ต่อตนเองมากที่สุดมีประโยชน์ต่อส่วนรวมและสังคม เมื่อคนเป็นคนดี คนดีก็อยากดียิ่งขึ้น กลัวบาปอยากทำดี เป็นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คือมีผลต่อจิตใจ เป็นที่พึ่งทางใจขัดเกลาจิตใจ ใจมีความสุข ใจมีสติ และมีความสงบ เมื่อตนเองดี ทำให้สังคมดีและประเทศชาติเข้มแข็ง สังคมอยู่กันอย่างสงบ สันติสุข
137
20.7
๓. สถานีวิทยุเสียงธรรมฯ ดีมากที่สุดแล้ว มีความพึงพอใจมาก ชอบฟังมากฟังตลอดเวลา ฟังทุกวัน เป็นประจำ เบื่อฟังเพลง หรือรายการอื่นที่พอกพูนกิเลสชอบรายการของสถานี การถ่ายทอดสด การประกาศรายการ ชื่อกัณฑ์เทศน์เพื่อรับฟังในช่วงที่สนใจ
106
16.0
๔. ได้รับฟังพระธรรมเทศนาจากภาคปฏิบัติจิตตภาวนา โดยครูบาอาจารย์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เหมือนมีครูบาอาจารย์มาเทศน์สอนที่บ้าน เหมาะสำหรับผู้เริ่มปฏิบัติและผู้ปฏิบัติเพื่อมุ่งหวังมรรคผลนิพพาน
42
6.3
๕. อยากให้เยาวชนได้ฟังกันมากขึ้น มีประโยชน์มากมีหลักธรรมสำหรับเยาวชน ทำให้รู้จักมัธยัสถ์ ไม่ฟุ่มเฟือย อยากให้เพิ่มรายการสำหรับเด็กและเยาวชนธรรมบทช่วงเช้า เย็น
23
3.5
๖. อยากให้กระจายขยายไปอย่างกว้างขวางครอบคลุมในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัด ทั่วประเทศเข้าถึงประชาชนทุกเพศ ทุกวัยให้มากที่สุด และขยายเวลาด้วยรวมถึงการมีความถี่คลื่นเดียว
71
10.7
๗. ขอให้ผู้มีอำนาจ หรือคณะรัฐบาลช่วยพิจารณาส่งเสริมสนับสนุนให้วิทยุเสียงธรรมฯได้อยู่คู่กับประชาชนต่อไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่าปิดวิทยุหลวงตา
54
8.1
๘. มีคลื่นรบกวน คลื่นแทรก ทำให้รับฟังไม่ค่อยได้อยากให้ปรับปรุง เพิ่มกำลังส่งให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
119
17.9
๙. รับฟังได้ชัดเจนดีแล้ว
9
1.4
๑๐. ความคิดเห็นอื่น ๆ อยากให้เพิ่มเกร็ดความรู้ นิทานธรรม ตลกการนำธรรมแก้ปัญหาชีวิตการประชาสัมพันธ์งานบุญ ความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงการยกย่องสถาบันพระมหากษัตริย์
12
1.8
 รวม
663
100.0

 
สรุปผลการศึกษา
            จากผลการศึกษา ข้อมูลที่เก็บรวมรวม พบว่าผู้รับฟังสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนมีระดับความคิดเห็นในระดับมากที่สุดในทุกประเด็นคำถาม ไม่ว่าจะจำแนกตามเพศ กลุ่มอายุ และระดับการศึกษา และจากความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมแบบเปิดกว้างข้อมูลเหล่านี้สามารถบ่งชี้ได้อย่างชัดเจนถึงความพึงพอใจของผู้ฟังในระดับมากที่สุดว่าเป็นคลื่นที่ดีมาก สำหรับรายการที่มีสาระประโยชน์ มีความสนุกสนาน ความบันเทิงสามารถรับฟังได้จากสถานีอื่น แต่สถานีธรรมะเช่นสถานีวิทยุเสียงธรรมฯ นั่นอยากรับฟังมากกว่า และอยากให้กระจาย ขยายไปอย่างกว้างขวางครอบคลุมในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัด และเข้าถึงประชาชนทุกเพศ ทุกวัยให้มากที่สุด อันเป็นที่พึ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน และเป็นการเผยแผ่พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า และพระสุปฏิปันโนผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ในการจรรโลงชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงสถาพรสืบไป ทั้งนี้ ประชาชนคาดหวังให้กทช. คณะรัฐบาล หรือผู้มีอำนาจช่วยพิจารณาส่งเสริมสนับสนุนให้วิทยุเสียงธรรมฯ ได้อยู่คู่กับประชาชนต่อไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยการให้ใบอนุญาตออกอากาศ และร่วมรับผิดชอบ ร่วมแก้ไขปัญหา ในเรื่องคลื่นรบกวน คลื่นแทรก คลื่นทับซ้อนกัน รวมถึงการปรับปรุง หรือการเพิ่มกำลังส่งเพื่อให้รับสัญญาณได้ชัดเจนยิ่งขึ้นและสามารถกระจายขยายการออกอากาศไปอย่างกว้างขวางครอบคลุมในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัด ทั่วประเทศ เพื่อให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยได้รับประโยชน์จากสูงสุดทั้งทางโลกและทางธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีหน้าที่การงานที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็นกำลังสำคัญของชาติบ้านเมืองสืบไป