มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก ตารางที่ 3.4.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามการศึกษา

ตารางที่ 3.4.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามการศึกษา

อีเมล พิมพ์ PDF
 

การศึกษา
เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่
จำนวน
จำนวน
จำนวน
ต่ำกว่าประถมศึกษา
53
50
32
ประถมศึกษา
42
33
21
มัธยมต้น
41
47
29
มัธยมปลาย
37
36
26
ปริญญาตรี
95
93
62
สูงกว่าปริญญาตรี
70
63
35
รวม
388
322
205

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.4.3 พบว่าความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ ในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามการศึกษา ปรากฏผลดังนี้
ระดับการศึกษาต่ำกว่าประถมศึกษา ส่วนใหญ่เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน 53 คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน50คนสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน 47 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา คิดเป็นจำนวน 41 คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน 32 คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน 8 คน ตามลำดับ
               
 

การศึกษา
สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา
อื่นๆ
จำนวน
จำนวน
จำนวน
ต่ำกว่าประถมศึกษา
47
41
8
ประถมศึกษา
31
28
3
มัธยมต้น
38
34
5
มัธยมปลาย
31
23
14
ปริญญาตรี
76
67
24
สูงกว่าปริญญาตรี
58
49
13
รวม
281
242
67

ตารางที่ 3.4.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามการศึกษา (ต่อ)
 
ระดับประถมศึกษา ส่วนใหญ่เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน 42 คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน33คนสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน 31คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา คิดเป็นจำนวน28คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน 21คนและอื่นๆ คิดเป็นจำนวน3คนตามลำดับ
ระดับมัธยมต้นส่วนใหญ่ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คิดเป็นจำนวน47คน รองลงมาเป็นเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน41คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน38คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา คิดเป็นจำนวน 34คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน 29คน และอื่นๆ คิดเป็นคจำนวน 5คน ตามลำดับ
 
มัธยมปลาย ส่วนใหญ่เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน37คนรองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน36คนสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน31คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน26คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา คิดเป็นจำนวน23คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน14คนตามลำดับ
ระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน95คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน93คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน76คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา คิดเป็นจำนวน67คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน62คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน24คน ตามลำดับ
                ระดับสูงกว่าปริญญาตรี ส่วนใหญ่เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน70คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน63คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน58คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน49คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน35คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน13คน ตามลำดับ
 


ตารางที่ 3.4.4 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามอาชีพ
 

อาชีพ
เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่
จำนวน
จำนวน
จำนวน
รับราชการ
52
49
30
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
20
14
7
พนักงานเอกชน
23
28
16
ค้าขาย
72
75
57
รับจ้าง
28
26
11
พ่อบ้าน แม่บ้าน
38
35
22
นักเรียน นักศึกษา
33
27
20
ข้าราชการเกษียณ
18
18
13
นักบวช
18
17
11
เกษตรกร
22
21
11
อาชีพอิสระส่วนตัว
11
10
6

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.4.4 พบว่าความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ ในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามการศึกษา ปรากฏผลดังนี้
     อาชีพรับราชการเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน52คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน49คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นจำนวน44คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน33คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน30คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน8คน ตามลำดับ
 


ตารางที่ 3.4.4 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามอาชีพ (ต่อ)

อาชีพ
สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา
อื่นๆ
จำนวน
จำนวน
จำนวน
รับราชการ
44
33
8
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
8
7
2
พนักงานเอกชน
24
18
7
ค้าขาย
68
67
15
รับจ้าง
23
18
7
พ่อบ้าน แม่บ้าน
37
28
5
นักเรียน นักศึกษา
22
25
11
ข้าราชการเกษียณ
11
10
1
นักบวช
16
10
2
เกษตรกร
18
16
3
อาชีพอิสระส่วนตัว
10
10
5

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน20คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน14คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน8คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน7คนและร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน7คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน2คน ตามลำดับ
            อาชีพพนักงานเอกชนส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 28 คน รองลงมาเป็นสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน24คน เสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 23 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 18 คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน16คน และอื่นๆ คิดเป็นจำนวน 7 คน ตามลำดับ
อาชีพค้าขายส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 75 คน รองลงมาเป็นเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 72 คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน68คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน67คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน57คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน15คน ตามลำดับ
อาชีพรับจ้างเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน28คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน26คน   สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน23คน   ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน18คน   ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน11คน   และอื่นๆคิดเป็นจำนวน7คน ตามลำดับ
อาชีพพ่อบ้าน แม่บ้านเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน38คน รองลงมาเป็นสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน37คน ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน35คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน28คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน22คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน5คน ตามลำดับ
อาชีพนักเรียน นักศึกษาเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน33คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน27คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน25คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน22คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน20คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน11คน ตามลำดับ
อาชีพข้าราชการเกษียณส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน18คนและเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน18คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน13คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน11คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน10คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน1คน ตามลำดับ
อาชีพนักบวชเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน18คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน17คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน16คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน11คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน10คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน2คน ตามลำดับ
อาชีพเกษตรกรเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน22คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน21คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน18คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน16คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน11คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน3คนตามลำดับ
อาชีพอาชีพอิสระส่วนตัวเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน11คนรองลงมาเป็นร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน10คน ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยงข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน10คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน10คน ร้องเรียน ส.ส. และ ส.ว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน6คนและอื่นๆคิดเป็นจำนวน5คนตามลำดับ
 

สารบัญ