มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก 3.3 ผลการวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก พ.ร.บ. การจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ และโทรคมนาคม

3.3 ผลการวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก พ.ร.บ. การจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ และโทรคมนาคม

อีเมล พิมพ์ PDF
ตารางที่ 3.4.1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของแนวทางการดำเนินการใจกรณีที่ไม่ยินยอม
 
แนวทาง
จำนวน
ร้อยละ
 
เสนอความเห็นของประชาชนต่อรัฐบาลโดยตรง
339
23.2
 
ส่งผู้แทนพบรับมนตรี
323
22.1
 
ร้องเรียน สส. สว. ในเขตพื้นที่
206
14.1
 
สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน
282
19.3
 
ร้องเรียนผ่านสื่อให้รัฐบาลแก้ปัญหา
243
16.6
อื่นๆ
67
4.6
 
รวม
1,460
100.0
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่าแนวทางการดำเนินการคือการเสนอความเห็นต่อรัฐบาลโดยตรง คิดเป็นร้อยละ 23.2 รองลงมาคือการส่งผู้แทนพบรัฐมนตรี คิดเป็นร้อยละ 22.1 สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน คิดเป็นร้อยละ 19.3 ร้องเรียนผ่านสื่อให้รัฐบาลแก้ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 16.6   ร้องเรียนสส. สว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 14.1 และมีความคิดเห็นอื่นๆ เช่นการประท้วง คิดเป็นร้อยละ 4.6  ตามลำดับ
 
ตารางที่ 3.4.2 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามช่วงอายุของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์

ช่วงอายุ (ปี)
 
เสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
 
ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจ้งถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่
 
จำนวน
จำนวน
จำนวน
ต่ำกว่า 20
17
14
10
21-30
45
34
23
31-40
47
51
29
41-50
80
93
53
51-60
94
81
55
สูงกว่า 60
55
49
35
รวม
338
322
205

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.4.2 พบว่าความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามช่วงอายุ ปรากฏผลดังนี้
ช่วงต่ำกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่เสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน17 คนรองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 14 คนร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 12 คนสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 11 คนและร้องเรียนต่อ สส. และสว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน 10 คนและอื่นๆคิดเป็นจำนวน 6 คน
 
 
ตารางที่ 3.4.2 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ต่อการแสดงความคิดเห็นในกรณีไม่ยินยอมการออกร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับสถานีวิทยุชุมชน โดยจำแนกตามช่วงอายุของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ (ต่อ)

ช่วงอายุ (ปี)
 
สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรง
ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหา
 
อื่นๆ
 
จำนวน
จำนวน
จำนวน
ต่ำกว่า 20
11
12
6
21-30
33
31
10
31-40
47
33
15
41-50
70
65
15
51-60
82
66
14
สูงกว่า 60
39
35
7
รวม
282
242
67

 
 
อายุ 21- 30 ปี ส่วนใหญ่เสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 45 คน รองลงมาเป็นส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 34 คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 33 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 31 คน ร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่ คิดเป็นจำนวน 23 คนและอื่นๆ 10 คน
อายุ 31- 40 ปี ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 51 คน รองลงมาเป็นเสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 47 คนและสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 47 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 33คน ร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน 29 คน และอื่นๆคิดเป็นจำนว15คน
 
อายุ 41-50 ปี ส่วนใหญ่ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจ้งถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 93 คน รองลงมาคือเสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 80 คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 70 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 65 คนร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน 53 คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน 15 คน
                อายุ 51-60 ปี ส่วนใหญ่เสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 94คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 82 คน ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจ้งถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคิดเป็นจำนวน 81 คน ร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน66คน ร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน 55 คน และอื่น14 คน
                อายุสูงกว่า 60 ปี ส่วนใหญ่เสนอความคิดเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 55 คน รองลงมาคือส่งผู้แทนพบรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจ้งถึงความจำเป็นที่ต้องมีสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนคืดเป็นจำนวน 49 คน สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนผู้รับฟังเพื่อเสนอความเห็นของประชาชนผู้รับฟังต่อรัฐบาลโดยตรงคิดเป็นจำนวน 39 คน ร้องเรียนต่อ สส. และ สว. ในเขตพื้นที่คิดเป็นจำนวน 35 คน และร้องเรียนผ่านสื่อเพื่อให้รัฐบาลรับฟังและแก้ไขปัญหาคิดเป็นจำนวน 35 คน และอื่นๆคิดเป็นจำนวน 7 คน
 

สารบัญ