มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก 3.2.5 ประโยชน์ที่ด้รับจากการรับฟัง

3.2.5 ประโยชน์ที่ด้รับจากการรับฟัง

อีเมล พิมพ์ PDF
ตารางที่ 3.2.5.1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 
สิ่งที่ได้จากการฟัง
จำนวน
ร้อยละ
ใจเป็นสุข
446
33.9
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
446
33.9
ได้รับข่าว
321
24.4
อื่นๆ
101
7.7
รวม
1,314
100
 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.2.5.1 พบว่าผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ส่วนใหญ่จะมีใจเป็นสุขและเข้าใจแนวทางปฏิบัติโดย คิดเป็นร้อยละ 33.9 รองลงมาได้รับข่าว คิดเป็นร้อยละ 24.4   และจำนวนน้อยที่สุด ได้แก่ อื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 7.7 เช่น เผยแพร่พระพุทธศาสนา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำสมาธิด้วยการฟังวิทยุ รับทราบข่าวาตุขันธ์ของหลวงตาและการเดินทางไปสถานที่ต่างของหลวงตาเพื่อสงเคราะห์โลก ตามลำดับ
 
ตารางที่ 3.2.5.2 แสดงจำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามเพศ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
เพศ
ชาย
หญิง
ใจเป็นสุข
148
298
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
159
287
ได้รับข่าวคิดเป็น
108
213
อื่นๆ
29
72
รวม
444
870

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.2.5.2 จำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามเพศ พบว่าเพศชายส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 159 คน รองลงมาใจเป็นสุข 148 คนได้รับข่าว 108 คน และอื่นๆ น้อยที่สุด 29 คน เพศหญิงส่วนใหญ่ใจเป็นสุขจำนวน 298 คน รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติ 287 คน ได้รับข่าว 213 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 72 คน เช่นเผยแพร่พระพุทธศาสนา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำสมาธิด้วยการฟังวิทยุ รับทราบข่าวาตุขันธ์ของหลวงตาและการเดินทางไปสถานที่ต่างของหลวงตาเพื่อสงเคราะห์โลก
ตารางที่ 3.2.5.3 แสดงจำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอายุ
 

 
ประโยชน์ที่ได้รับ
อายุ
ต่ำกว่า 20 ปี
21-30 ปี
31-40 ปี
41-50 ปี
51-60 ปี
สูงกว่า 60 ปี
ใจเป็นสุข
25
55
64
116
116
69
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
19
52
63
112
121
77
ได้รับข่าว
13
43
43
85
83
53
อื่นๆ
3
10
15
26
23
23
รวม
60
160
185
339
343
222

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่3.2.5.3 จำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน พบว่าอายุต่ำกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่ใจเป็นสุข 25 คน รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติ 19 คน ได้รับข่าว 13 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 3 คน
อายุ 21-30 ปี ส่วนใหญ่ใจเป็นสุข 55 คนรองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติ 52 คนได้รับข่าว 43 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 10 คน
อายุ 31-40 ปี ส่วนใหญ่ใจเป็นสุข 64 คน รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติ 63 คน ได้รับข่าว 43 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 15 คน
อายุ 41-50 ปี ส่วนใหญ่ใจเป็นสุข 116 คน รองลงมาข้าใจแนวทางปฏิบัติ 112 คน ได้รับข่าว 85 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 26 คน
อายุ 51-60 ปี ส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติ 121 คน รองลงมาใจเป็นสุข 116 คน ได้รับข่าว 83 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 23 คน
อายุสูงกว่า 60 ปี ส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติ 77 คน รองลงมาใจเป็นสุข 69 คน ได้รับข่าว 53 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 23 คน


ตารางที่ 3.2.5.4 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามการศึกษา

ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับฟัง
ระดับการศึกษา
ต่ำกว่าประถมศึกษา
ประถมศึกษา
มัธยมต้น
มัธยมปลาย
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
ใจเป็นสุข
83
45
61
44
123
89
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
70
58
60
45
119
93
ได้รับข่าว
54
30
43
43
80
70
อื่นๆ
14
14
13
9
25
25
รวม
221
147
177
141
347
277

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.2.5.4 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามการศึกษา ปรากฏว่าผลดังนี้
                การศึกษาต่ำกว่าประถมศึกษา ส่วนใหญ่ใจเป็นสุข คิดเป็นร้อยละ 37.6 รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 31.7 ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 24.4 และอื่นๆ น้อยที่สุดคิดเป็นร้อยละ 6.3
                ประถมศึกษาส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 39.5 รองลงมาใจเป็นสุขคิดเป็นร้อยละ 30.6ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 20.4 และอื่นๆน้อยที่สุดคิดเป็นร้อยละ 9.5
                มัธยมต้นส่วนใหญ่ใจเป็นสุขคิดเป็นร้อยละ 34.5 รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 33.9 ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 24.3 และอื่นๆคิดเป็นร้อย 7.3
                มัธยมปลายส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 31.9 รองลงมาใจเป็นสุขคิดเป็นร้อยละ 31.2 ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 30.5 และอื่นๆน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 6.4
                ปริญญาตรีส่วนใหญ่ใจเป็นสุขคิดเป็นร้อยละ 35.4 รองลงมาเข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 34.3ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 23.1 และอื่นๆ น้อยที่สุดคิดเป็นร้อยละ 7.2
สูงกว่าปริญญาตรีส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 33.6 รองลงมา ใจเป็นสุขคิดเป็นร้อยละ32.1% ได้รับข่าวคิดเป็นร้อยละ 25.3 และอื่นๆ น้อยที่สุดคิดเป็นร้อยละ 9.0 คน เช่น เผยแพร่พระพุทธศาสนา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำสมาธิด้วยการฟังวิทยุ รับทราบข่าวาตุขันธ์ของหลวงตาและการเดินทางไปสถานที่ต่างของหลวงตาเพื่อสงเคราะห์โลก
 


ตารางที่ 3.2.5.5 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนจำแนกตามอาชีพ
 

ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับฟัง
อาชีพ
รับราชการ
พนักงานรับวิสาหกิจ
พนักงานเอกชน
ค้าขาย
รับจ้าง
ใจเป็นสุข
62
23
39
97
42
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
59
15
38
118
36
ได้รับข่าว
43
12
28
79
31
อื่นๆ
21
3
5
24
10
รวม
185
53
110
318
119

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.2.5.5  แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอาชีพ ปรากฏว่าผลดังนี้อาชีพรับราชการ ส่วนใหญ่พบว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ใจเป็นสุข จำนวน 62 คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติ จำนวน 59 คน ได้รับข่าวจำนวน 43 คน และอื่นๆ จำนวน 21 คน ตามลำดับ
อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ ส่วนใหญ่พบว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือใจเป็นสุข จำนวน 23 คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติ จำนวน 15 คน ได้รับข่าว จำนวน 12 คน และอื่นๆ จำนวน 3 คน ตามลำดับ
อาชีพพนักงานเอกชน ส่วนใหญ่พบว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ใจเป็นสุข จำนวน 39  คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 38 คน ได้รับข่าวจำนวน 28 คน และอื่นๆจำนวน 5 คน ตามลำดับ
อาชีพค้าขาย ส่วนใหญ่พบว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 118 คน รองลงมาได้แก่ ใจเป็นสุข จำนวน 97 คน ได้รับข่าว จำนวน 79 คน และอื่นๆ จำนวน 24 คนตามลำดับ
อาชีพรับจ้างส่วนใหญ่พบว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ใจเป็นสุขจำนวน 42 คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 36 คน ได้รับข่าวจำนวน 31 คน และอื่นๆจำนวน 10 คน คน เช่น เผยแพร่พระพุทธศาสนา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำสมาธิด้วยการฟังวิทยุ รับทราบข่าวาตุขันธ์ของหลวงตาและการเดินทางไปสถานที่ต่างของหลวงตาเพื่อสงเคราะห์โลก


ตารางที่ 3.2.5.5 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนจำแนกตามอาชีพ (ต่อ)
 

ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับฟัง
อาชีพ
พ่อบ้าน แม่บ้าน
นักเรียน นักศึกษา
ข้าราชการเกษียณ
นักบวช
เกษตรกร
อาชีพอิสระส่วนตัว
ใจเป็นสุข
55
41
20
18
31
14
เข้าใจแนวทางปฏิบัติ
57
34
25
21
25
15
ได้รับข่าว
45
29
15
9
18
10
อื่นๆ
11
6
2
8
5
3
รวม
168
110
62
56
79
42

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่ 3.2.5.5  แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอาชีพ ปรากฏว่าผลดังนี้
อาชีพพ่อบ้าน แม่บ้านส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 57 คน รองลงมาได้แก่ ใจเป็นสุขจำนวน 55 คน ได้รับข่าวจำนวน 45 คน และอื่นๆจำนวน 11 คน ตามลำดับ
                อาชีพนักเรียน นักศึกษาส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ใจเป็นสุข จำนวน 41 คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติ จำนวน 34 คน ได้รับข่าวจำนวน 29 คน และอื่นๆจำนวน 6 คน ตามลำดับ
                อาชีพข้าราชการเกษียณส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 25 คน รองลงมาได้แก่ ใจเป็นสุขจำนวน 20 คน ได้รับข่าวจำนวน 15 คน และอื่นๆจำนวน 2 คน
                อาชีพนักบวชส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ เข้าใจแนวทางปฏิบัติจำนวน 21 คน รองลงมาได้แก่ ใจเป็นสุขจำนวน 18 คน ได้รับข่าวจำนวน 9 คน และอื่นๆ จำนวน 8 คน
                อาชีพเกษตรกรส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ ใจเป็นสุขจำนวน 31 คน รองลงมาได้แก่ เข้าใจแนวทางปฏิบัติ จำนวน 25 คน ได้รับข่าวจำนวน คน 18 และอื่นๆ จำนวน 5 คน
                อาชีพอิสระส่วนตัวส่วนใหญ่ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน คือ เข้าใจแนวทางปฏิบัติ จำนวน 15 คน รองลงมาได้แก่ ใจเป็นสุข จำนวน 14 คน ได้รับข่าว จำนวน 10 คน และอื่นๆ จำนวน 3 คน


ตารางที่ 3.2.5.6 แสดงจำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามเพศ
 

ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับฟัง
เพศ
ชาย
หญิง
เสนอความเห็นของประชาชนต่อรัฐบาลโดยตรง
120
219
ส่งผู้แทนพบรัฐมนตรี
101
222
ร้องเรียน สส. สว. ในเขตพื้นที่
68
138
สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน
88
194
ร้องเรียนผ่านสื่อให้รัฐบาลแก้ปัญหา
76
167
อื่นๆ
24
43
รวม
477
983

 
หมายเหตุ: ผู้ตอบสามารถตอบได้หลายข้อ
จากตารางที่3.2.5.6 แสดงจำนวนประชากรที่ได้รับประโยชน์จากการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามเพศ พบว่า
                ผู้ชายส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นให้เสนอความเห็นของประชาชนต่อรัฐบาลโดยตรงจำนวน 120 คน รองลงมาส่งผู้แทนพบรับมนตรี 101 คน สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน 88 คน ร้องเรียนผ่านสื่อให้รัฐบาลแก้ปัญหา 76 คน ร้องเรียนส.ส. ส.ว. ในเขตพื้นที่ 68 คน และอื่นๆน้อยที่สุด 24 คน
ผู้หญิงส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นให้ส่งผู้แทนพบรับมนตรี 222 คนรองลงมาเสนอความเห็นของประชาชนต่อรัฐบาลโดยตรง 219 คน สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน 194 คน ร้องเรียนผ่านสื่อให้รัฐบาลแก้ปัญหา 167 คน และอื่นๆ น้อยที่สุด 43 คน คน เช่น เผยแพร่พระพุทธศาสนา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำสมาธิด้วยการฟังวิทยุ รับทราบข่าวาตุขันธ์ของหลวงตาและการเดินทางไปสถานที่ต่างของหลวงตาเพื่อสงเคราะห์โลก
 

สารบัญ