มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก 3.2 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการรับฟังของประชาชน/ด้านระยะเวลา-อายุ

3.2 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการรับฟังของประชาชน/ด้านระยะเวลา-อายุ

อีเมล พิมพ์ PDF

3.2.1 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการรับฟังด้านระยะเวลา

 
ตารางที่ 3.2.1.1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ในด้านระยะเวลาการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน

ระยะเวลาการรับฟัง
จำนวน
ร้อยละ
ต่ำกว่า1ปี
75
13.0
1 ปี
80
13.9
2 ปี
95
16.5
3 ปี
115
19.9
4 ปี
200
34.7
ไม่ระบุ
12
2.1
รวม
577
100

 
จากตารางที่ 3.2.1.1 พบว่าการติดตามรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน ส่วนใหญ่ประชาชนรับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 34.7 รองลงมาได้แก่ระยะเวลา 3 ปี จำนวน 115 คน       คิดเป็นร้อยละ 19.9 ระยะเวลา 2 ปี จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ16.5 ระยะเวลา 1 ปี จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ13.9 และระยะเวลาต่ำกว่า 1 ปี จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0 ตามลำดับ พบว่าผู้รับฟังส่วนใหญ่ให้ความสนใจรับฟังตั้งแต่เริ่มตั้งสถานี และมีการกระจายสถานีวิทยุออกไปเรื่อยๆ ก็มีผู้รับฟังจำนวนมากเช่นเดียวกัน แสดงว่า สถานีวิทยุด้รับความนิยมจากผู้ที่สนใจมานานแล้ว
 
ตารางที่ 3.2.1.2 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของเพศจำแนกตามระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 

เพศ
ระยะเวลา
 
รวม
ต่ำกว่า 1 ปี
1 ปี
2 ปี
3 ปี
4 ปี
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
ชาย
26.0
12.6
34.0
16.4
34.0
16.4
46.0
22.2
67.0
32.4
207.0
100.0
หญิง
51.0
24.6
48.0
23.2
65.0
31.4
72.0
34.8
134.0
64.7
370.0
100.0
รวม
77.0
37.2
82.0
39.6
99.0
47.8
118.0
57.0
201.0
97.1
577.0
100.0

จากตารางที่ 3.2.1.2 พบว่าสถานภาพด้านเพศเมื่อจำแนกตามระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน ปรากฏว่าผลดังนี้ ระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนต่ำกว่า 1 ปีส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 24.6 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ12.6 ระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน 1 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ23.2 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 16.4 ระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน 2 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศพหญิงคิดเป็นร้อยละ 31.4 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 16.4 ระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน 3 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 34.8 รองลงมาเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 22.2 และระยะเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน 4 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 64.7 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 32.4
 
ตารางที่ 3.2.1.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของระยะเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอายุของผู้รับฟัง

ระยะเวลา
ในการรับฟัง
อายุของผู้รับฟัง
ต่ำกว่า 20 ปี
21-30 ปี
31-40 ปี
41-50 ปี
51-60 ปี
สูงกว่า 60 ปี
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
ต่ำกว่า 1 ปี
16
47.1
14
19.1
13
16.6
21
14.5
12
8.1
10
10.3
1 ปี
10
29.4
13
17.9
13
16.6
21
14.7
12
8.1
14
14.4
2 ปี
5
14.7
13
17.9
11
14.1
23
16.1
28
19
14
14.4
3 ปี
1
2.9
10
13.6
15
19.2
33
23.1
39
26.3
17
17.5
4 ปี
2
5.9
23
31.5
26
33.3
47
32.9
57
38.5
44
45.4
รวม
34
100
73
100
78
100
145
100
148
100
97
100

 
 
จากตารางที่ 3.2.1.3 อายุของผู้ที่รับฟังเมื่อจำแนกตามระยะเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน พบว่า
ผู้รับฟังอายุต่ำกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟังต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 47.1 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.4 ระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.7 ระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.9 และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 2.9
ผู้รับฟังที่อายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟัง 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.5 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 19.1  ระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.9 ระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.9 และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 13.6
ผู้รับฟังที่อายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟัง 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 19.2  ระยะเวลาต่ำกว่า1 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.6 ระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.6 และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.1
ผู้รับฟังที่อายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟัง 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.9 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 23.1ระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.1 ระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.7 และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ ต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.5
ผู้รับฟังที่อายุอยู่ในช่วง 51-60 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟัง 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.5 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 26.3  ระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 19 ระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.1 และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ ต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.1
ผู้รับฟังที่อายุสูงกว่า 60 ปี ส่วนใหญ่จะรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนระยะเวลาในการรับฟัง 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.4 รองลงมาได้แก่ ระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.5 ระยะเวลา 2 ปี และ 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.4  และระยะเวลาที่มีผู้ฟังจำนวนน้อยที่สุด คือ ต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.3
 
 
 
ตารางที่ 3.2.1.4  แสดงระยะเวลาในการรับฟังคลื่นสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนจำแนกตามระดับการศึกษา
 

การศึกษา
ระยะเวลา
รวม
ต่ำกว่า1ปี
1ปี
2ปี
3ปี
4ปี
ต่ำกว่าประถมศึกษา
 
จำนวน
12
19
12
28
29
100
ร้อยละ
12
19
12
28
29
100
ประถมศึกษา
 
จำนวน
8
11
12
19
28
78
ร้อยละ
10.3
14
15.4
24.4
35.9
100
มัธยมต้น
 
จำนวน
10
14
14
13
30
81
ร้อยละ
12.3
17.3
17.3
16
37
100
มัธยมปลาย
 
จำนวน
4
11
8
21
19
63
ร้อยละ
6.3
17.4
12.9
33.3
30.1
100
ปริญญาตรี
 
จำนวน
20
14
31
28
61
154
ร้อยละ
13
9.1
20.1
18.2
39.6
100
สูงกว่าปริญญาตรี
จำนวน
20
11
18
19
33
101
ร้อยละ
19.8
10.9
17.8
18.8
32.7
100
รวม
จำนวน
74
80
95
114
200
577
ร้อยละ
13.1
14.2
16.9
20.2
35.5
100

 
จากตารางที่3.2.1.4 ระยะเวลาการรับฟังคลื่นสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า
ระดับต่ำกว่าประถมศึกษาส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 29 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 28 รับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 19 รับฟังเป็นระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 12 และรับฟังน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 12
ระดับประถมศึกษาส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.9 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปีคิดเป็นร้อยละ 24.4 และ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 15.4 เท่ากันตามลำดับ รับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 14 และรับฟังเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.3
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 37 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปีและ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.3 เท่ากันตามลำดับ รับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 16 และรับฟังเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 12.3
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 30.1 รับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.4   รับฟังเป็นระยะเวลา   2 ปี คิดเป็นร้อยละ 12.3 และรับฟังน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 6.3
ระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 39.6 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.1 รับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 1]8.2 รับฟังเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 13 และรับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 9.1
ระดับสูงกว่าปริญญาตรีส่วนใหญ่รับฟังเป็นระยะเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.7 รองลงมารับฟังเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 19.8 รับฟังเป็นระยะเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.8 รับฟังเป็นระยะเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.8 และรับฟังเป็นระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.9
ตารางที่ 3.2.1.5 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของระยะเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอาชีพของผู้รับฟัง
 

อายุของผู้รับฟัง
ระยะเวลาในการรับฟัง
ต่ำกว่า 1 ปี
1 ปี
2 ปี
3 ปี
4 ปี
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
รับราชการ
7
9.6
8
11.0
9
12.3
16
21.9
33
45.2
พนักงานรับวิสาหกิจ
9
39.1
3
13.0
4
17.4
2
8.7
5
21.7
พนักงานเอกชน
5
11.4
3
6.8
12
27.3
9
20.5
15
34.1
ค้าขาย
14
10.2
20
14.6
24
17.5
33
24.1
46
33.6
รับจ้าง
8
16.3
10
20.4
4
8.2
11
22.4
16
32.7
พ่อบ้าน แม่บ้าน
9
12.7
12
16.9
11
15.5
15
21.1
24
33.8
นักเรียน นักศึกษา
16
31.4
13
25.5
11
21.6
3
5.9
8
15.7
ข้าราชการเกษียณ
1
3.7
2
7.4
7
25.9
5
18.5
12
44.4
นักบวช
2
7.1
4
14.3
2
7.1
4
14.3
16
57.1
เกษตรกร
2
5.4
3
8.1
9
24.3
11
29.7
12
32.4
อาชีพอิสระส่วนตัว
1
5.3
2
10.5
2
10.5
4
21.1
10
52.6
รวม
74
100
80
100
95
100
113
100
197
100

 
หมายเหตุ: จากจำนวนที่สำรวจ 577 คน ไม่แสดงความคิดเห็นจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 3.1
 
จากตารางที่ 3.2.1.5 พบว่าระยะเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จำแนกตามอาชีพของผู้รับฟังปรากฏว่าผลดังนี้
อาชีพรับราชการ ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็นเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.2 รองลงมาเป็นเวลา3 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.9 เวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ12.3 เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.0 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 9.6 ตามลำดับ
อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็นเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 39.1 ปี รองลงมาเป็นเวลา4 ปีคิดเป็นร้อยละ 21.7 เวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ17.4 เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 13.0 และเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.7 ตามลำดับ
อาชีพพนักงานเอกชน ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.1รองลงมาเป็นเวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 27.3เวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.5 เวลาต่ำกว่า 1 ปี  คิดเป็นร้อยละ11.4  เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 6.8ตามลำดับ
อาชีพค้าขาย ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.6รองลงมาเป็นเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.1เวลา 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.5 เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.6 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.2ตามลำดับ
อาชีพรับจ้าง ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.7รองลงมาเป็นเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.4เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.4 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี  คิดเป็นร้อยละ 16.3เวลา 2 ปี  คิดเป็นร้อยละ 8.2ตามลำดับ
                อาชีพพ่อบ้าน แม่บ้าน ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.8รองลงมาเป็นเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ21.1เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.9เวลา 2 ปี  คิดเป็นร้อยละ 15.5 เวลาต่ำกว่า 1 ปี  คิดเป็นร้อยละ 12.7ตามลำดับ
อาชีพนักเรียน นักศึกษา ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลาต่ำกว่า 1 ปี  คิดเป็นร้อยละ 31.4รองลงมาเป็นเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.5เวลา 2 ปี  คิดเป็นร้อยละ 21.6 ตามลำดับ เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 15.7 และเวลา 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.9 ตามลำดับ
อาชีพข้าราชการเกษียณ ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็น เวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 44.4รองลงมาเป็นเวลา 2 ปีคิดเป็นร้อยละ 25.9เวลา 3 ปีคิดเป็นร้อยละ 18.5 เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ7.4 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 3.7 ตามลำดับ
อาชีพนักบวช ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็นเวลา  4 ปี คิดเป็นร้อยละ 57.1รองลงมาเป็นเวลา 1 และ 3 ปีคิดเป็นร้อยละ 14.3 เวลาต่ำกว่า 1 ปีและ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 7.1ตามลำดับ
อาชีพเกษตรกร ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็นเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.4  รองลงมาเป็นเวลา 3 ปีคิดเป็นร้อยละ 29.7 เวลา 2  ปี คิดเป็นร้อยละ 24.3 เวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.1 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.4ตามลำดับ
                อาชีพอาชีพอิสระส่วนตัว ส่วนใหญ่รับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนเป็นเวลา 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.6 รองลงมาเป็นเวลา 3 ปีคิดเป็นร้อยละ 21.1 เวลา 1 และ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.5 และเวลาต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.3 ตามลำดับ
 
3.2.2 ช่วงระยะเวลาในการรับฟัง
ตารางที่ 3.2.2.1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของช่วงเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
 

ช่วงเวลาในการรับฟัง
 
 
จำนวน
ร้อยละ
 
 
 
ช่วงที่ 1      ( 05.00-09.00 )
123
14.03
 
ช่วงที่ 2      ( 09.01-13.00 )
73
8.32
 
ช่วงที่ 3      ( 13.01-17.00 )
57
6.50
 
ช่วงที่ 4      ( 17.01-21.00 )
105
11.97
 
ช่วงที่ 5      ( 21.01-01.00 )
77
8.78
ช่วงที่ 6      ( 01.01-04.59 )
41
4.68
ช่วงที่ 7      ( ทุกครั้งที่สะดวก )
256
29.19
ช่วงที่ 8     ( เปิดรับฟังตลอดเวลา )
118
13.45
ไม่แสดงความคิดเห็น
27
3.08
รวม
877
100

 
จากตารางที่ 3.2.2.1 พบว่า ช่วงเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
ส่วนใหญ่ รับฟังทุกครั้งที่สะดวก คิดเป็นร้อยละ 29.19 รองลงมาคือ รับฟังช่วงเวลา 05.00-09.00 น. คิดเป็นร้อยละ 14.03   รองลงมาคือเปิดรับฟังตลอดเวลาคิดเป็นร้อยละ  13.45 รับฟังช่วงเวลา 17.01-21.00 น. คิดเป็นร้อยละ 11.97   รับฟังช่วงเวลา 21.01-01.00 น. คิดเป็นร้อยละ 8.78 รับฟังช่วงเวลา 09.01-13.00 น. คิดเป็นร้อยละ 8.32    รับฟังช่วงเวลา 13.01-17.00 น.คิดเป็นร้อยละ 6.50 และรับฟังน้อยที่สุดคือช่วงเวลา 01.01-04.59 น. คิดเป็นร้อยละ 4.68
 
 
 
 


ตารางที่ 3.2.2.2 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของช่วงเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนโดยจำแนกตามสถานภาพด้านเพศ
 

ช่วงเวลาที่ฟัง
เพศ
ชาย
หญิง
จำนวน
จำนวน
 
ช่วงที่ 1      (05.00-09.00)
41
82
ช่วงที่ 2      (09.01-13.00)
33
40
ช่วงที่ 3      (13.01-17.00)
20
37
 
ช่วงที่ 4      (17.01-21.00)
42
63
 
ช่วงที่ 5      (21.01-01.00)
30
47
 
ช่วงที่ 6      (01.01-04.59)
15
26
 
ช่วงที่ 7      (ทุกครั้งที่สะดวก)
86
170
 
ช่วงที่ 8    (เปิดรับฟังตลอดเวลา)
33
85
 
รวม
300
550

 
จากตารางที่ 3.2.2.2 พบว่า ผู้ตอบคำถามเพศชายส่วนใหญ่เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมช่วงเวลาที่ 7 มากที่สุด จำนวน 86 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 4 จำนวน 42 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 1 จำนวน 41 ตามลำดับและช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด จำนวน 15
                เพศหญิงส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด จำนวน 170 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 8 จำนวน 85 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 1 จำนวน 82 ตามลำดับและ เลือกช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด จำนวน 26
 
 
 
 
 
 


        ตารางที่ 3.2.2.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของช่วงเวลาในการรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนโดยจำแนกตามสถานภาพด้านอายุ
 

ช่วงเวลาที่ฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน
อายุ (ร้อยละ)
ต่ำกว่า 20 ปี
21-30ปี
31-40ปี
41-50ปี
51-60ปี
สูงกว่า 60 ปี
 
ช่วงที่ 1      (05.00-09.00 น.)
8.6
12.2
12.9
15.8
14.0
16.7
ช่วงที่ 2      (09.01-13.00 น.)
5.7
7.1
8.6
11.1
6.8
9.0
ช่วงที่ 3      (13.01-17.00 น.)
2.9
9.2
4.3
7.3
6.8
5.1
ช่วงที่ 4      (17.01-21.00 น.)
11.4
11.2
17.2
9.8
11.1
15.4
ช่วงที่ 5      (21.01-01.00 น.)
5.7
11.2
6.9
9.0
11.1
7.7
ช่วงที่ 6      (01.01-04.59 น.)
0
4.1
3.4
6.0
5.8
4.5
ช่วงที่ 7      (ทุกครั้งที่สะดวก)
54.3
40.8
31.9
26.9
25.6
28.2
ช่วงที่ 8    (เปิดรับฟังตลอดเวลา)
11.4
4.1
14.7
14.1
18.8
13.5
รวม
100
100
100
100
100
100

 
จากตารางที่ 3.2.2.3 พบว่า ช่วงอายุต่ำกว่า 20 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 54.3 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 4 และที่ 8 ร้อยละ11.4 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 1 ร้อยละ 8.6 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด ร้อยละ 0
                ช่วงอายุ 21-30 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 40.8 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 1 ร้อยละ12.2 ถัดมา เป็นช่วงเวลาที่ 4 และที่ 5 ร้อยละ 11.2 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 และที่ 8 น้อยที่สุด ร้อยละ 4.1
                ช่วงอายุ 31-40 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 31.9 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 4 ร้อยละ17.2 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 8 ร้อยละ 14.7 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด ร้อยละ 3.4
                ช่วงอายุ 41-50 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 26.9 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 1 ร้อยละ15.8 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 8 ร้อยละ 14.1 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด ร้อยละ 6.0
                ช่วงอายุ 51-60 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 25.6 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 8 ร้อยละ18.8 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 1 ร้อยละ 14.0 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด ร้อยละ 5.8
                ช่วงอายุสูงกว่า 60 ปีส่วนใหญ่ เลือกรับฟังคลื่นวิทยุเสียงธรรมที่ช่วง เวลาที่ 7 มากที่สุด ถึง ร้อยละ 28.2 รองลงมาเป็นช่วงเวลาที่ 1 ร้อยละ 16.7 ถัดมา ช่วงเวลาที่ 4 ร้อยละ 15.4 ตามลำดับและ ช่วงเวลาที่ 6 น้อยที่สุด ร้อยละ 4.5
 

สารบัญ