มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน

You are here: หน้าหลัก ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

อีเมล พิมพ์ PDF

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการรับฟังรายการสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี ครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกโดยบังเอิญ จำนวน 400 คน คณะผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามคืน 400 ชุด คิดเป็น

ร้อยละ 100 เมื่อนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์สามารถสรุปได้ดังนี้

ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามเพศ

พศ

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. ชาย

2. หญิง

197

203

49.3

50.8

2

1

รวม

400

100

2

อายุ

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. 20-39 ปี

2. 40-59 ปี

3. 60 ปีขึ้นไป

132

165

103

33.0

41.3

25.8

2

1

3

รวม

400

100

3

จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามอายุเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย กลุ่มอายุระหว่าง 40 – 59 ปี มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 165 คน คิดเป็นร้อยละ 41.3 รองลงมาคือ

การศึกษา

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. ประถมศึกษา

2. มัธยมศึกษาตอนต้น

3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

4. อนุปริญญาตรี/ปวส

5. ปริญญตรีขึ้นไป

137

69

83

65

46

34.3

17.3

20.8

16.3

11.5

1

3

2

4

5

รวม

400

100

5

รายได้ต่อเดือน

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

    • ต่ำกว่า 5,000 บาท
    • 5,000-10,000 บาท
    • มากกว่า 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 20,000 บาท
    • มากกว่า 20,000 บาท แต่ไม่เกิน 30,000 บาท

233

89

42

36

58.3

22.3

10.5

9.0

1

2

3

4

รวม

400

100

4

– 10,000 บาท จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 22.3 รายได้มากกว่า 10,000 บาทแต่ไม่เกิน 20,000 บาท จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 รายได้มากกว่า 20,000 บาทแต่ไม่เกิน 30,000 บาท

สถานที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

    • บ้านตนเอง
    • ในรถยนต์
    • บ้านเช่า
    • ที่ทำงาน

5. หอพัก

225

84

25

40

26

56.3

21.0

6.2

10.0

6.5

1

2

5

3

4

รวม

400

100

5

ความถี่ของการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. เป็นประจำ

2. เป็นบางครั้ง

3. ไม่เคยฟัง

214

155

31

53.5

38.8

7.8

1

2

3

รวม

400

100

3

ช่วงเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. ช่วงเช้า เวลา 05.00-09.00 น.

2. ช่วงกลางวัน เวลา 09.00-13.00 น.

3. ช่วงบ่าย เวลา 13.00-16.00 น.

4. ช่วงกลางคืน เวลา 16.00-05.00 น.

142

76

70

112

35.5

19.0

17.5

28.0

1

3

4

2

รวม

400

100

4

ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

    • ประมาณ 15 นาที
    • ประมาณ 30 นาที
    • ประมาณ 1 ชั่วโมงขึ้นไป
    • อื่นๆ

94

158

130

18

23.5

39.5

32.5

4.5

3

1

2

4

รวม

400

100

4

ลักษณะการเลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. ฟังรายการสดการแสดงพระธรรมเทศนา

2. ทำในขณะทำงานอื่นไปด้วย

3. ฟังเทปบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา

4. ฟังขณะนางทำสมาธิไปด้วย

5. ฟังในขณะขับรถยนต์ไปด้วย

6. นั่งฟังอย่างตั้งใจ

7. ฟังในขณะรับประทานอาหารไปด้วย

8. ฟังในขณะกำลังนอนหลับพักผ่อน

9. อื่นๆ

169

129

159

57

99

191

34

100

15

42.3

32.3

39.8

14.3

24.8

47.8

8.5

25.0

3.8

2

4

3

7

6

1

8

5

9

 

ตารางที่ 10 แสดงจำนวนและร้อยละของลักษณะการไม่เลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จากตารางที่ 10 ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการไม่เลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ อื่นๆ จำนวน 385 คน คิดเป็นร้อยละ 96.3 รองลงมาคือ ฟังในขณะรับประทานอาหารไปด้วย จำนวน 366 คน คิดเป็นร้อยละ 91.5 ฟังขณะนั่งทำสมาธิไปด้วย จำนวน 343 คน คิดเป็นร้อยละ 85.8 ฟังในขณะขับรถยนต์ไปด้วย จำนวน 301 คน คิดเป็นร้อยละ 75.3 ฟังในขณะกำลังจะนอนหลับพักผ่อน จำนวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 75.0 ทำในขณะทำงานอื่นไปด้วย จำนวน 271 คน คิดเป็นร้อยละ 67.8 ฟังเทปบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา จำนวน 241 คน คิดเป็นร้อยละ 60.3 ฟังรายการสดการแสดงพระธรรมเทศนา จำนวน 231 คน คิดเป็นร้อยละ 57.8 และนั่งฟังอย่างตั้งใจ จำนวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 52.3 ตามลำดับ

ลักษณะการไม่เลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

จำนวน

ร้อยละ

ลำดับที่

1. ฟังรายการสดการแสดงพระธรรมเทศนา

2. ทำในขณะทำงานอื่นไปด้วย

3. ฟังเทปบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา

4. ฟังขณะนั่งทำสมาธิไปด้วย

5. ฟังในขณะขับรถยนต์ไปด้วย

6. นั่งฟังอย่างตั้งใจ

7. ฟังในขณะรับประทานอาหารไปด้วย

8. ฟังในขณะกำลังนอนหลับพักผ่อน

9. อื่นๆ

231

271

241

343

301

209

366

300

385

57.8

67.8

60.3

85.8

75.3

52.3

91.5

75.0

96.3

8

6

7

3

4

9

2

5

1

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด)

ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี

ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจด้านเทคนิค

จากตารางที่ 11 ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนด้านเทคนิคเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือการปรับระดับเสียงที่ใช้ในการออกอากาศ ค่าเฉลี่ย = 4.40 ค่าSD = 0.953 รองลงมาคือ เพลงบรรเลงที่ใช้ประกอบเสียง

ผู้ประกาศ ค่าเฉลี่ย = 4.34 ค่าSD = 1.050 ความชัดเจนของคลื่นวิทยุ FM103.25 MHz

ค่าเฉลี่ย = 4.31 ค่าSD = 1.061 การตัดเสียงในช่วงจะมีการถ่ายทอดสดเท่ากัน ค่าเฉลี่ย = 4.31

ค่าSD = 1.031 บทเพลงที่นำมาเปิดในแต่ละช่วงของรายการ ค่าเฉลี่ย = 4.30 ค่าSD = 1.014 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเกิดเหตุขัดข้อง ค่าเฉลี่ย = 4.30 ค่าSD = 1.049 ระบบเสียงกัณฑ์เทศน์ในช่วงถ่ายทอดสด ค่าเฉลี่ย = 4.22 ค่าSD = 1.107 ความต่อเนื่องในการควบคุมเสียงฝ่ายเทคนิค ค่าเฉลี่ย = 4.20 ค่าSD = 1.057 และความชัดเจนของเทปบันทึกเสียงกัณฑ์เทศน์ ค่าเฉลี่ย = 4.11

ค่า ค่าSD = 1.010

ด้านเทคนิค

ค่าเฉลี่ย

SD

ระดับความพึงพอใจ

ลำดับที่

1. ความชัดเจนของคลื่นวิทยุ FM103.25 MHz

2. ความชัดเจนของเทปบันทึกเสียงกัณฑ์เทศน์

3. ความต่อเนื่องในการควบคุมเสียงฝ่ายเทคนิค

4. บทเพลงที่นำมาเปิดในแต่ละช่วงของรายการ

5. ระบบเสียงกัณฑ์เทศน์ในช่วงถ่ายทอดสด

6. เพลงบรรเลงที่ใช้ประกอบเสียงผู้ประกาศ

7. การตัดเสียงในช่วงจะมีการถ่ายทอดสด

8. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเกิดเหตุขัดข้อง

9. การปรับระดับเสียงที่ใช้ในการออกอากาศ

4.31

4.11

4.20

4.30

4.22

4.34

4.31

4.30

4.40

1.061

1.010

1.057

1.014

1.107

1.050

1.031

1.049

0.953

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

3

9

8

5

7

2

3

5

1

ตารางที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจด้านผู้ประกาศ

 จากตารางที่ 12 ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนด้านผู้ประกาศเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเกิดเหตุขัดข้อง ค่าเฉลี่ย = 4.48 ค่าSD = 0.944 ลักษณะการพูดของผู้ประกาศชายค่าเฉลี่ย = 4.48 ค่าSD = 0.936 รองลงมาคือ เนื้อหาในการพูดเข้าออกในแต่ละช่วง ค่าเฉลี่ย = 4.43 ค่าSD = 0.976 การประกาศนำเข้าในช่วงมีการถ่ายทอดสด ค่าเฉลี่ย = 4.39 ค่าSD = 1.029 ลักษณะการพูดของผู้ประกาศหญิง ค่าเฉลี่ย = 4.37 ค่าSD = 1.070 การประกาศช่วงถ่ายทอดก่อน-หลังถ่ายทอดสด ค่าเฉลี่ย = 4.33 ค่าSD = 1.048 การประกาศข้อมูลประชาสัมพันธ์ต่างๆ ค่าเฉลี่ย = 4.32 ค่าSD = 1.051 ความต่อเนื่องในการประกาศ ค่าเฉลี่ย = 4.28 ค่าSD = 1.995 ความชัดเจนของน้ำเสียงที่ประกาศออกมา ค่าเฉลี่ย = 4.27 ค่าSD = 1.990 และความชัดเจนของการออกเสียงวรรณยุกต์ ค่าเฉลี่ย = 4.23 ค่า ค่าSD = 1.102 ตามลำดับ

ด้านผู้ประกาศ

ค่าเฉลี่ย

SD

ระดับความพึงพอใจ

ลำดับที่

1. ความชัดเจนของการออกเสียงวรรณยุกต์

2. ความชัดเจนของน้ำเสียงที่ประกาศออกมา

3. ความต่อเนื่องในการประกาศ

4. การประกาศข้อมูลประชาสัมพันธ์ต่างๆ

5. การประกาศช่วงถ่ายทอดก่อน-หลังถ่ายทอดสด

6. เนื้อหาในการพูดเข้าออกในแต่ละช่วง

7. การประกาศนำเข้าในช่วงมีการถ่ายทอดสด

8. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเกิดเหตุขัดข้อง

9. ลักษณะการพูดของผู้ประกาศชาย

10. ลักษณะการพูดของผู้ประกาศหญิง

4.23

4.27

4.28

4.32

4.33

4.43

4.39

4.48

4.48

4.37

1.102

0.990

0.995

1.051

1.048

0.976

1.029

0.944

0.936

1.070

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

10

9

8

7

6

3

4

1

1

5

ตารางที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจด้านการผลิตรายการ

 จากตารางที่ 13 ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนด้านการผลิตรายการเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือการทำสปอตงานประชาสัมพันธ์ ค่าเฉลี่ย = 4.41 ค่าSD = 1.022 รองลงมาคือ เสียงเพลงที่ใช้ประกอบแต่ละรายการค่าเฉลี่ย = 4.40 ค่าSD = 1.043 รูปแบบของรายการภาคค่ำ ค่าเฉลี่ย = 4.39 ค่าSD = 0.903 รูปแบบของรายการหลวงตาสงเคราะห์โลก ค่าเฉลี่ย = 4.34 ค่าSD = 1.003 รูปแบบของรายการธรรมโครงการ ช่วยชาติ ค่าเฉลี่ย = 4.43 ค่าSD = 0.969 เปิดโอกาสให้ฟังธรรมะย้อนหลังได้ ค่าเฉลี่ย = 4.33 ค่าSD = 1.085 รูปแบบของรายการธรรมปฏิบัติ ค่าเฉลี่ย = 4.32 ค่าSD = 1.963 ความชัดเจนของน้ำเสียงที่ประกาศออกมา ค่าเฉลี่ย = 4.27 ค่าSD = 1.990 รูปแบบของรายการถ่ายทอดสด ค่าเฉลี่ย = 4.30 ค่าSD = 1.033 และรูปแบบของรายการธรรมะครูบาอาจารย์ ค่าเฉลี่ย = 4.27 ค่าSD = 1.045 รูปแบบของรายการภาษาธรรม ค่าเฉลี่ย = 4.27 ค่าSD = 1.972 ตามลำดับ

ด้านการผลิตรายการ

ค่าเฉลี่ย

SD

ระดับความพึงพอใจ

ลำดับที่

1. รูปแบบของรายการถ่ายทอดสด

2. รูปแบบของรายการภาษาธรรม

3. รูปแบบของรายการธรรมะครูบาอาจารย์

4. รูปแบบของรายการธรรมะโครงการช่วยชาติ

5. รูปแบบของรายการธรรมปฏิบัติ

6. รูปแบบของรายการหลวงตาสงเคราะห์โลก

7. รูปแบบของรายการภาคค่ำ

8. เปิดโอกาสให้ฟังธรรมะย้อนหลังได้

9. เสียงเพลงที่ใช้ประกอบแต่ละรายการ

10. การทำสปอตงานประชาสัมพันธ์

4.30

4.27

4.27

4.34

4.32

4.34

4.39

4.33

4.40

4.41

1.003

0.972

1.045

0.969

0.963

1.003

0.903

1.085

1.043

1.022

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

8

9

9

4

7

4

3

6

2

1

 

ตารางที่ 14 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจด้านด้านการนำไปใช้ประโยชน์

 

จากตารางที่ 14 ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนด้านการนำไปใช้ประโยชน์เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือฟังแล้วนำไปสนทนาธรรมกับผู้อื่นได้ ค่าเฉลี่ย = 4.61 ค่าSD = 0.834 รองลงมาคือฟังแล้วช่วยให้สภาพจิตใจสงบค่าเฉลี่ย = 4.61 ค่าSD = 0.834 ฟังแล้วรู้สึกผ่อนคลายมีสมาธิขึ้น ค่าเฉลี่ย = 4.42 ค่าSD = 0.946 และฟังแล้วสามารนำไป ปฏิบัติได้ ค่าเฉลี่ย = 4.27 ค่าSD = 1.045

ด้านการนำไปใช้ประโยชน์

ค่าเฉลี่ย

SD

ระดับความพึงพอใจ

ลำดับที่

1. ฟังแล้วสามารถนำไปปฏิบัติได้

2. ฟังแล้วรู้สึกผ่อนคลายมีสมาธิขึ้น

3. ฟังแล้วนำไปสนทนาธรรมกับผู้อื่นได้

4. ฟังแล้วช่วยให้สภาพจิตใจสงบ

4.27

4.42

4.61

4.53

1.072

0.946

0.834

0.957

มาก

มาก

มากที่สุด

มากที่สุด

4

3

1

2

 จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี เป็นเพศหญิงจำนวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 50.8 รองลงมาคือเพศชายจำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 49.3

 

จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามการศึกษาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ระดับประถมศึกษาจำนวน 137 คน คิดเป็นร้อยละ 34.3 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ระดับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 17.3 ระดับอนุปริญญา//ปวส. จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 และระดับปริญญา/ปวส. จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 11.5 ตามลำดับ

 

จากตารางที่ 4 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามรายได้ต่อเดือนเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ รายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท จำนวน 233 คน คิดเป็นร้อยละ 58.3 รองลงมาคือรายได้5,000

จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 9.0 ตามลำดับ

 

จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด) ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามสถานที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ รับฟังที่บ้านตนเอง จำนวน 225 คน คิดเป็นร้อยละ 56.3 รองลงมาคือรับฟังในรถยนต์ จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 22.3 รับฟังที่ทำงาน จำนวน 40 คน

คิดเป็นร้อยละ 10.0 รับฟังที่หอพัก จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5 และรับฟังในบ้านเช่า จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 ตามลำดับ

 

จากตารางที่ 6 ผลการศึกษาพบว่า ความถี่ที่กลุ่มตัวอย่างรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม เรียงตามลำดับ จากมากไปหาน้อยดังนี้ รับฟังเป็นประจำ จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 53.5 รองลงมาคือรับฟังเป็นบางครั้ง จำนวน 155 คน คิดเป็นร้อยละ 38.8 และไม่เคยรับฟังเลย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 ตามลำดับ

 

จากตารางที่ 7 ผลการศึกษาพบว่า ช่วงเวลาในการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ รับฟังช่วงเช้าเวลา 05.00-09.00 น. จำนวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 35.5 รองลงมาคือรับฟังช่วงกลางคืนเวลา 16.00-05.00 น. จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 28.0 รับฟัง ช่วงกลางวันเวลา 09.00-13.00 น. จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 19.0 และรับฟังช่วงบ่ายเวลา 13.00-16.00 น. จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 ตามลำดับ

 

จากตารางที่ 8 ผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาในการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ รับฟังประมาณ 30 นาที จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 39.5 รองลงมาคือรับฟังประมาณ 1 ชั่วโมงขึ้นไป จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 รับฟังประมาณ 15 นาที จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5 และอื่นๆ จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 ตามลำดับ

 

ตารางที่ 8 แสดงจำนวนและร้อยละของระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

 

ตารางที่ 7 แสดงจำนวนและร้อยละของช่วงเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

 

ตอนที่ 2 พฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 MHz (บ้านตาด)

ของประชาชนในจังหวัดอุดรธานี

ตารางที่ 6 แสดงจำนวนและร้อยละความถี่ของการรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมที่กลุ่มตัวอย่างรับฟัง

 

 

ตารางที่ 5 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามสถานที่รับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

 

 

ตารางที่ 4 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายได้ต่อเดือน

 

 

ตารางที่ 3 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามการศึกษา

 

 

ตารางที่ 2 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอายุ

 

 

ตารางที่ 9 แสดงจำนวนและร้อยละของลักษณะการเลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรม

 

จากตารางที่ 9 ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการเลือกรับฟังรายการวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชนที่ชอบฟังมากที่สุดเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ นั่งรับฟังอย่างตั้งใจ จำนวน 191 คน คิดเป็นร้อยละ 47.8 รองลงมาคือ ฟังรายการสดการแสดงพระธรรมเทศนา จำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 42.3

ฟังเทปบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา จำนวน 159 คน คิดเป็นร้อยละ 39.8 ฟังในขณะทำงานอื่นไปด้วย

จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 32.3 ฟังในขณะกำลังจะนอนหลับพักผ่อน จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 25.0 ฟังในขณะขับรถยนต์ไปด้วย จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 24.8 ฟังในขณะนั่งสมาธิไปด้วย จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 14.3 ฟังในขณะรับประทานอาหารไปด้วย จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 8.5 และอื่นๆ จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 3.8 ตามลำดับ

 


 

สารบัญ